เงื่อนไขการปฏิบัติ เริ่มตั้งแต่บิลส่งของลงวันที่ 1 ตุลาคม 2551 |
1. การบันทึกเอกสาร ใบส่งสินค้า/ใบกำกับภาษี |
1.1 การบันทึกเลขที่เอกสาร ใบส่งสินค้า/ใบกำกับภาษี กรณีที่มี เล่มที่/เลขที่ ให้ใช้เครื่องหมาย / คั่นระหว่างเลขที่กับเล่มที่ของเอกสาร เช่น 06/1234 (กรณีที่เป็นฟอร์มจากโรงพิมพ์) หากเอกสารของ Supplier ท่านใดที่เป็นเลขที่ Running อยู่แล้วก็ให้บันทึกตามเลขที่เอกสารนั้น เช่น 51-8005 |
|
 |
|
1.2 กรณีมีการ ลดหนี้ หรือ เพิ่มหนี้ ค่าสินค้า ให้บันทึกเอกสารเช่นเดียวกับ ใบส่งสินค้า/ใบกำกับภาษี ยกเว้น ลดหนี้ การบันทึกมูลค่าสินค้า ราคาเต็มให้ใส่เครื่องหมายติดลบ หน้าจำนวนเงิน เช่น - 5,000.- |
1.3 การเปิดใบส่งสินค้า/ใบกำกับภาษี ขอให้ Supplier เปิดใบส่งสินค้า/ใบกำกับภาษี 1 ใบต่อ 1 PO |
1.4 การส่งสินค้าทุกกรณีต้องเปิดบิล ใบส่งสินค้า/ใบกำกับภาษี เท่านั้น เพราะคลัง สินค้าจะไม่ บันทึกเอกสารจากใบส่งของชั่วคราว |
2. เอกสารประกอบการส่งสินค้า |
- ต้นฉบับใบส่งสินค้า/ใบกำกับภาษี(พร้อมสำเนา 3 ฉบับ) |
- ต้นฉบับใบเสร็จรับเงิน(เซ็นรับเงิน) |
- สำเนา ใบสั่งซื้อ |
- ยกเลิก การประทับตรา สำหรับวางบิลในวันที่.. |
3. การนับเครคิตสำหรับการโอนเงิน |
การนับวันเครคิตสำหรับการโอนเงินนั้นเหมือนเดิมกับการรับวางบิลที่บริษัท คือ บริษัทจะทำการประมวลผลใบส่งสินค้า/ใบกำกับภาษีที่ทาง Supplier บันทึกเข้ามากับการรับสินค้าจริงของคลังสินค้า ทุกวันที่ 7 ของเดือนถัดไป ซึ่งระบบจะตัดบิลรับสินค้าถึงวันที่ 6 ของเดือนถัดไป เช่น เครดิต,วันส่งของก่อน,วันโอนเงิน |
ตัวอย่าง การนับระยะเวลาที่ชำระเงิน |
เครดิต |
รับสินค้าก่อนวันที่ |
วันที่โอนเงิน |
30 |
06/07/08 |
16/08/08 |
45 |
06/07/08 |
16/09/08 |
60 |
06/07/08 |
16/09/08 |
90 |
06/07/08 |
16/10/08 |
|
|